อิตาเลี่ยนไทย สร้างทางเชื่อมผืนป่า: 12+1 ทางข้ามสัตว์ป่า ทางผ่านสำหรับมนุษย์ผู้มาทีหลัง ทางออกสำหรับสัตว์ในผืนป่าที่อยู่มาก่อน

12+1 ทางข้ามสัตว์ป่า ทางผ่านสำหรับมนุษย์ผู้มาทีหลัง ทางออกสำหรับสัตว์ในผืนป่าที่อยู่มาก่อน

12+1 ตัวอย่างทางข้ามสัตว์ต่างประเทศและในประเทศไทย

เครดิต: Harald Sund

อุทยานแห่งชาติ Banff National Park เมือง Alberta ประเทศแคนาดา

เครดิต: http://twistedsifter.com/2012/07/animal-bridges-around-the-world/

B38 เมือง Birkenau ประเทศเยอรมนี

เครดิต: http://twistedsifter.com/2012/07/animal-bridges-around-the-world/

Scotch Plains เมือง New Jersey ประเทศสหรัฐอเมริกา

เครดิต: https://www.hankermag.com

Ecoduct เมือง Kikbeek ประเทศเบลเยี่ยม

เครดิต: https://www.boredpanda.com

Ecoduct Duinpoort ระหว่างเมือง Zandvoort และ เมือง Haarlemประเทศเนเธอร์แลนด์

เครดิต: http://twistedsifter.com/2012/07/animal-bridges-around-the-world/

Wildlife overpass ใกล้กับ Keechelus Lake รัฐ Washington ประเทศสหรัฐอเมริกา

เครดิต: https://vernaculaire.com/ecoducs-ponts-animaux/

Groene Woud ecoduct ประเทศเนเธอร์แลนด์

เครดิต: https://www.hankermag.com

Green Wildlife Bridge ถนน Autobahn A20 ประเทศเยอรมนี 

เครดิต: https://www.hankermag.com

Ecoduct ประเทศสิงคโปร์

เครดิต: https://vernaculaire.com/ecoducs-ponts-animaux/

Ecoduct De munt เมือง WUUSTWEZELประเทศเบลเยี่ยม

เครดิต: https://vernaculaire.com/ecoducs-ponts-animaux/

Crécy-en-Ponthieu ประเทศฝรั่งเศส

เครดิต: https://www.boredpanda.com

สะพานข้ามถนนสำหรับลิง เมือง Bahia ประเทศบราซิล

เครดิต: http://www.koratstartup.com/extend-304road/

โครงการก่อสร้างสายอ.กบินทร์บุรี และ อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา ประเทศไทย

การขยายถนน เชื่อมผืนป่า เชื่อมโคราชออกสู่ชายทะเลตะวันออก ดำเนินการก่อสร้างโดย บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) กับทางเชื่อมผืนป่าแห่งแรกของประเทศไทยบริเวณถนนทางหลวงหมายเลข 304 จากจังหวัดปราจีนบุรี ถึงจังหวัดนครราชสีมา ระยะทางกว่า 18.959 กิโลเมตร และพัฒนาพื้นที่ให้เป็นทางเชื่อมป่า ที่จะใช้เป็นทางสัญจรของรถยนต์และสัตว์ โดยการสร้างทางเชื่อมผืนป่าแห่งนี้ มีการออกแบบให้คนและสัตว์สามารถใช้สัญจรร่วมกันได้อย่างปลอดภัย จึงมีทั้งอุโมงค์และสะพานทางยกระดับขนาด 4 ช่องจราจร โดยช่วงที่เป็นสะพานจะให้รถยนต์ใช้สะพานและให้สัตว์เดินลอดใต้สะพาน ส่วนช่วงอุโมงค์จะให้รถยนต์ใช้ทางลอดอุโมงค์ และให้สัตว์เดินข้ามบนหลังคาอุโมงค์ในแบบธรรมชาติ เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุรถยนต์เฉี่ยวชนสัตว์ป่าที่เดินข้ามทางเชื่อมผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่นั่นเอง ซึ่งขณะนี้เริ่มเปิดให้รถวิ่งชั่วคราวได้ในบางช่วงแล้ว คาดว่าทั้งอุโมงค์และสะพานยกระดับ จะเปิดให้คนและสัตว์ใช้สัญจรได้อย่างสมบูรณ์แบบในช่วงปลายปีนี้

…ผู้คนต่างเฝ้ารอโครงการทางข้ามสัตว์นี้อย่างใจจดใจจ่อ โดยหวังว่าจะช่วยอนุรักษ์รักษาพันธุ์สัตว์ป่า เพื่อระบบนิเวศน์ที่ยั่งยืน หลังเกิดเหตุการณ์ที่ดูจะขัดแย้งกับจุดประสงค์การก่อสร้างอย่างสิ้นเชิง…

เครดิต: http://www.koratstartup.com/extend-304road/

อ่านต่อเรื่อง Jungle Book โครงการป่าในกรุง คลิก

เครดิต: https://www.asla.org